วันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2555

สรุปจากดูโทรทัศน์ครู

 สอนวิทย์คิดสนุกกับเด็กปฐมวัย
จากการได้รับชมจะเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูส่งเสริมให้เด็กสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยให้เด็กมีส่วนร่วมการเรียนการสอนมากที่สุด เพื่อเป็นเทคนิคในการพัฒนาการของเด็กปฐมวัยโดยใช้วัสดุรอบตัว โดยใช้น้ำตาลก้อนหยดสีลงไปแล้วดูการเปลี่ยนแปลง  การใช้กระดาษทิชชูอธิบายความลับของสีดำซึ่งมีสีอื่นๆ ซ่อนอยู่มากมาย หรือการอธิบายเรื่องแรงตึงของผิวน้ำโดยใช้อุปกรณ์ง่ายๆ ที่อยู่รอบตัวในการอธิบายให้เห็นภาพ และเข้าใจได้ง่ายๆ การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่เด็ก ในการดำเนินกิจกรรมมีการสนทนามีการโต้ตอบเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเองการได้สัมผัสและได้ลงมือปฏิบัติจริง เกิดทักษะการเรียนรู้และประสบการณ์ สามารถแก้ปัยหาได้ด้วยตัวเองค่ะ

วันจันทร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนการสอนวันที่25/9/55 ครั้งที่16

เนื้อหาที่ได้เรียน/ความรู้ที่ได้รับ

-อาจารย์แจกแนวการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-อาจารย์แนะนำว่าในบล็อกควรมีอะไรบ้างเช่น บทความ งานวิจัย เป็นต้น
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ แท็บเล็ต พร้อมบอกข้อดีและข้อจำกัดเป็นอย่างไร





บันทึกการเรียนการสอนวันที่18/9/55 ครั้งที่15


เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ
 1.วันนี้นำเสนองานที่เราไปจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม  

ข้อแนะนำจากอาจารย์
1.เวลาที่เราออกไปพูดควรเกริ่นนำเนื้อหาก่อนเวลาที่พูด
2.พูดแนะนำตัวทุกคน
3.เราสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หรือไม่

บันทึกการเรียนการสอนวันที่11/9/55 ครั้งที่14

วันนี้ได้ทำกิจกรรมที่ดรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมคะ
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
ฐานของดิฉันเป็นฐานน้ำ  ได้ทำฐาน ขวดกินไข่
อุปกรณ์

ขวดแก้วปากกว่าไข่ต้ม
ไข่ต้ม 1 ฟอง
ไม้ขีดไฟ
วิธีทำ
จุดไม้ขีดไฟแล้วหย่อนลงไปในขวดแก้ว แล้วรีบวางไว้บนปากแก้วหลังจากนั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลง
ผลสังเกตพบว่าไข่โดนดูดลงไปในขวด
หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้
เมื่อเราใส่น้ำร้อนลงไปในขวดแก้วเป็นการทำให้โมเลกุลของอากาศในขวดแก้วมีความร้อนสูงขึ้น เมื่อขวดเริ่มเย็นลงโมเลกุลของอากาศในขวดก็เย็นลงด้วย โมเลกุลเหล่านี้จะค่อยๆเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันและพยายามดึงลูกโป่งเข้าไปในขวด ประกอบกับโมเลกุลของอากาศภายนอกขวดก็เป็นตัวช่วยผลักลูกโป่งลงไปในขวดด้วย จากหลักการนี้จึงมีผู้คิดค้นเครื่องมือต่างๆ เช่น vacuum pump ที่ใช้ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรือด้านอื่นๆได้ด้วย

ตัวอย่างกิจกรรมขวดดูดไข่

วันพุธที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนการสอนวันที่4/9/55 ครั้งที่13

นำบรอดที่ทำมาส่งคุณครู
- การทำนิทานทางวิทยาศาสตร์ สื่อ หลายมิติ
- การสอนเริ่มต้นที่ดีสำหรับเด็กปฐมวัยคือการเริ่มต้นต้องเป็นของจริงเพื่อให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
แล้วค่อยเป็นสัณลักษณ์ทางภาษาทางคณิตศาสตร์

งานที่ได้รับมอบหมาย
อาทิตย์หน้าทดลองการทำกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่แต่ละกลุ่มคิดขึ้นมา
เลือกิจกรรมเอา3ฐาน ย่อยออกมาอีกฐานละ3ฐานทั้งหมดเป็น9ฐาน

น้ำ
1. ลาวาแลมป์
2. หวานเย็น

แสง
เช่น แสงเดินทางเป็นเส้นตรง หักเห มีเป็นหลายๆสี
อากาศ

บันทึกการเรียนการสอนวันที่28/8/55 ครั้งที่12

ไม่มีการเรียนการสอนค่ะ
คุณครูให้ทำบรอดให้เสร็จค่ะ

ผลงาน


ผลงานที่ทำจากการเข้าอบรม






บันทึกการเข้าอบรมวันที่25/8/2555

การอบรมเชิงปฎิบัติการ "การสร้างสื่อประยุกต์"
ณ ห้องประชุมศูนย์ศึกษาพัฒนาครูคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

รูปกิจกรรม

บันทึกการเรียนการสอนวันที่21/8/55 ครั้งที่11

พูดถึงสื่องานกระดาษ(วันเสาร์) 9.00-16.00
ดูพัฒนาการ
ดูสาระที่เหมาะสม มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
แบ่งกันเป็นกลุ่มแล้วศึกษาดูงานที่คุณครูแจกมาให้กลุ่มละเล่ม

1 ใครใหญ่
แนวคิด น้ำจะถูกแทนที่ด้วยขนาดมือของเราเอง
ขั้นตอน 
 - นำขวดแก้วใสมาวางไว้บนกลางโต๊ะ
- เทน้ำใสลงไปให้ได้ครึ่งขวด
- ให้เด็กกำมือตัวเองแล้วหย่อนลงไปทีละคน
- ครูจะทำเครื่องหมายกำกับของทุกคนไว้
- ให้เด้กช่วยสรุปผลจากการทดลอง
สรุปผล ระดับน้ำในขวดแก้วใสจะขึ้นสูงมากกว่าเดิมตามขนาดมือของเด็กแต่ละคน

2 ใบไม้สร้างภาพ
แนวคิด สีจากใบไม้สดสามารถสร้างภาพได้เหมือนจริง
ขั้นตอน 
- เด็กสังเกตลักษณะของใบไม้ที่เก็บมา
- นำกระดาษวาดเขียนมาพับครึ่งแบ่งเป็นสองส่วนเท่าๆกัน
- วางใบไม้ทีละใบระหว่างกระดาษวาดเขียนที่พับไว้
- ใช้ค้อนไม้ค่อยๆเคาะบนกระดาษตรงบริเวณที่มีใบไม้อยู่
- เมื่อเปิดกระดาษวาดเขียนออกให้เด็กๆช่วยกันคิดหาเหตุผล
สรุปผล
1 น้ำสีจากใบไม้สดจะเป็นรูปร่างขึ้นมาบนกระดาษ
2 โครงร่างที่ได้จะได้เหมือนกับไม้ไม้ของจริงที่เป็นต้นแบบ
3 สีจากใบไม้เป็นสีธรรมชาติที่เราจะนำไปทำอะไรได้อีกบ้าง

3 มาก่อนฝน
แนวคิด น้ำเมื่อได้รับความร้อนบางส่วนจะกลายเป็นก๊าซเรียกว่าไอน้ำ
ขั้นตอน 
- นำขวดแก้วที่แช่เย็นเอาไว้โดยให้เด้กบอกความรู้สึกที่สัมผัสได้
- เทน้ำอุ่นใส่ขวดประมาณครึ่งขวด วางก้อนน้ำแข็งไว้บนปากขวด
- เด็กสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น
- อาสาสมัครเป่าลมแรงๆเข้าไปในขวดแช่เย็นใบที่สอง
- เมื่อหยุดเป่าจะเห็นฝุ่นเมฆจางๆ
สรุปผล
1 เมฆจะก่อตัวขึ้นจากไอน้ำที่อยู่ในขวดซึ่งควบแน่นเพราะได้รับความเย็นจากน้ำแข็ง
2 กลุ่มเมฆจางๆในขวดเกิดอากาศในขวดขยายตัวและแตกกระจายออกไป
3 สภาพภายในขวดเย็นลงดังนั้นไอน้ำจากลมหายใจจึงควบแน่นกลายเป็นเมฆหรือละออง

4 ทำให้ร้อน
แนวคิด แรงเสียดท้านเป็นแรงเชิงพยายามหยุดการลื่นไหลบนสิ่งต่างๆพลังงานจำเป็นจะต้องเอาชนะแรงเสียดท้านที่เป็นความร้อน
ขั้นตอน 
- ครูแจกดินสอและหนังสือให้เด้กคนละหนึ่งชุด
- ให้เด็กจับดินสอด้วยมือที่ถนัด
- ถูไปมากับสันหนังสือประมาณห้าวินาที
- นำดินสอส่วนที่ได้ถูกับสันหนังสือไปแตะกับผิวหนัง เช่นแขน ริมฝีปาก
- เด้กบอกความรู้สึกจากการสัมผัส
สรุปผล
1 แรงเสียดท้านระหว่างดินสอกับหนังสือทำให้เกิดความร้อน
2 นำส่วนที่ได้ถูกับสันหนังสือมาแตะกับผิวหนังส่วนใดส่วนหนึ่งโดยเฉพาะริมฝีปากจะมีความรู้สึกว่าร้อน

งานที่ได้รับมอบหมาย
แบ่งกลุ่มสี่คนเลือกที่เราจดบันทึกมา 1 ตัวอย่าง
คิดในเชิงทดลองคิดกิจกรรม
กิจกรรมกับเด็ก
กิจกรรม
นม+สี+ซันไลท์
วิธีการทดลองคือเทนม ใส่สี แล้วบีบน้ำซันไลท์ลงไป
ผลการทดลองดูจากวีดีโอที่นำลงในการทดลองทางวิทยาศาสตร์

วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนการสอนวันที่ 14/8/2555 ครั้งที่10

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ไปทำธุระค่ะ

บันทึกการเรียนการสอนวันที่ 7/8/2555 ครั้งที่9

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ไปทำธุระค่ะ

บันทึกการเรียนการสอนวันที่ 31/7/2555 ครั้งที่8

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอยู่ในช่วงสอบกลางภาคค่ะ

บันทึกการเรียนการสอนวันที่ 24/7/2555 ครั้งที่7

อาจารย์พูถึงเรื่องวันวิทยาศาสตร์ตั้งแต่วันที่17-31 ยกเว้นวันที่22
-บางนาไปดูนิทรรสการ
-ไปดูศูนย์วิทยาศาสตร์ คลองหก
-พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ
-แหล่งเรียนรู้ เด็กได้ประโชน์อะไร
-หอดุดาวท้องฟ้าจำลอง
ประโยช์ขงการไปดู
ได้ สังเกต คำถาม อยากทดลอง ตื่นเต้น เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ต้องค้นหา ใฝ่รู้ เกิดการเปรียบเทียบ ข้อมูล
งานที่มอบหมาย
แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม กลุ่มละ 11 คน
-กลุ่มที่1 น้ำ
-กลุ่มที่2 อากาศ
-กลุ่มที่3 แสง
-กลุ่มที่4 อาหาร (อยู่กลุ่มนี้)

บันทึกการเรียนการสอน วันที่17/7/2555 ครั้งที่6

วันนี้ได้นำงานที่ดิฉันประดิษฐ์เกี่ยวกับของเล่นวิทยาศาสตร์เอาไปเสนออาจารย์ไม่ผ่านค่ะ เลยต้องเอากลับมาทำใหม่
อาจารย์พูดถึง
- สื่อเป็นสิ่งที่เรียนรู้ผ่านการเล่น เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดการเรียนรู้เพราะจะได้ไม่กังวลว่าถูกหรือผิด
- การทกลองวิทยาศาสตร์ได้สังเกต กระบวนการทดลองวิทยาศาสตร์มีอะไรบ้าง
กิจกรรม 
อาจารย์ให้ร่วมกลุ่มที่ได้หัวข้อเดียวกันมาแตก map ด้วยกัน เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการเรียนการสอน

วันพุธที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนการสอนประจำวันที่10/7/55 ครั้งที่5

ไม่ได้เข้าเรียนค่ะ
* เนื่องจากไม่สบายค่ะ

 

บันทึกการเรียนการสอนประจำวันที่ 3/7/55 ครั้งที่4

บรรยกาศในห้องเรียนทำให้ง่วงนอนค่ะเพราะบรรยากาศดูครึ้มๆเหมือนฝนจะตก วันนี้อาจารย์สอนเรื่องความกระตือรือร้นในการทำงาน การวิเคราะห์เนื้อหา และอาจารย์ได้ให้ดู วีดีโอ เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ สนุกมากเลยคะและยังมีการทดลองเอาลูกแอปเปิ้ลไปปั่นแล้วมาบีมจะมีน้ำออกมา ซึ่งทำให้รู้ว่าสิ่งต่างๆบนโลกย่อมมีน้ำเป็นส่วนประกอบน้ำมีอยู่ 3 สถานะคือ ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
งาน    
- ทำสื่อวิทยาศาสตร์ 2 คน 1ชิ้น ทำให้เด็กเล่น และ สอนให้เด็กทำเอง
- ลิงค์งานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
การทำmapที่ไปดูที่สาธิตใครได้หัวข้อเดียวกันให้ทำด้วยกัน 3 กลุ่ม อนุบาล1 อนุบาล2 อนุบาล3

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนการสอน วันที่ 26/06/2555 ครั้งที่ 3

บรรยากาศในห้องเรียนเสียงดังมาก อากาศหนาว ฝนก็ตกแรงทำให้หนูง่วงนอน
การเรียนการสอนมีการสนทนาอภิปลายซักถาม
- เรียนรู้การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
- วิธีการใช้สื่อวิทยาศาสตร์

บันทึกการเรียนการสอน วันที่19/06/2555 ครั้งที่ 2

บรรยากาศในการเรียนการค่อนข้างสนุกสนาน มีการสนทนาอภิปรายซักถาม
คุณครูสอนเรื่องการเปลี่ยนแปลงของเด็ก -->  การใช้ทักษะของเด็ก --> ทักษะทางภาษา
                                                                  -->  การสังเกต
                                                                  -->  การประมวลความคิด

บันทึกการเรียนการสอน วันที่10/06/2555 ครั้งที่ 1

วันนี้บรรยากาศในห้องเรียนเงียบสงบ เป็นวันแรกของการเรียนการสอน วันนี้คุณครูได้สั่งการบ้านให้ไปค้นหา
1.มาตราฐานวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2.ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
3.ทำบล็อก